ผลงานการจัดการความรู้เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ในการแสวงหาแนวทางปฏิบัติที่ดี (Good Practice)


ผลงานการจัดการความรู้
Date Uploaded: Jun 16, 2022
User imgdoc

ชื่อเรื่อง
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยทางด้านนวัตกรรมและการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อให้ได้รับการสนับสนุนจากแหล่งทุน
ปี พ.ศ. 2565
รางวัล รางวัลชนะเลิศ
ประเภทผลงาน
ด้านวิจัยและสร้างสรรค์
ชื่อผู้ส่งผลงาน / รายชื่อคณะทำงาน

1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศิวัตม์ กมลคุณานนท์

2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พลิศภัสร์ คำฟู

บทสรุปโครงการ

                  โครงการนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะนำการจัดการความรู้มาใช้ในการเขียนโครงการวิจัยประเภทนวัตกรรมและการถ่ายทอดเทคโนโลยี ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของการวิจัยที่เป็นความต้องการของประเทศในการพัฒนา ขีดความสามารถในการแข่งขันทางด้านวัฒนธรรม ซึ่งปัจจุบันมีแหล่งทุนที่ให้การสนับสนุนในการเปิดรับข้อเสนอหลายแหล่ง นอกจากนั้นการทำวิจัยในลักษณะนี้ มักจะให้ค่าตอบแทนนักวิจัยเป็นรายเดือนอีกด้วย บางแหล่งทุนให้เงินค่าตอบแทนนักวิจัยถึง 40,000-50,000 บาทต่อเดือน ทำให้เกิดการแข่งขันกันมากขึ้นในการขอทุนสนับสนุนที่ต้องแข่งขันกันทั้งประเทศรวมกัน ทั้งกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาวิทยาลัยราชมงคล และกลุ่ม ทปอ. เดิม ยิ่งทำให้นักวิจัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏต้องขยับขีดความสามารถในการเขียนโครงการวิจัยทางด้านนวัตกรรมให้มีความโดดเด่นเพื่อให้ได้รับทุนสนับสนุนดังกล่าวจากแหล่งทุน รูปแบบการเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอสนับสนุนจากแหล่งทุนในลักษณะโครงการวิจัยด้านนวัตกรรมต้องมีความรู้ ความเข้าใจ ซึ่งเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการเขียนโครงการ นอกจากนั้นผู้วิจัยยังต้องลงพื้นที่เก็บข้อมูลเพื่อให้มี database ที่เพียงพอต่อการเขียนโครงการ นอกจากนั้นยังต้องทำการวิเคราะห์ระดับของ Technology Readiness Level (TRL) เพื่อสร้างความได้เปรียบในการได้รับทุนสนับสนุน โดยประโยชน์ของการได้รับทุนสนับสนุนในลักษณะดังกล่าว จะส่งผลดีทั้งต่อนักวิจัย ต่อหน่วยงาน ที่สังกัด และต่อมหาวิทยาลัย โดยในแต่ละส่วนจะได้รับเงินชดเชยหรือเงินสิทธิประโยชน์ต่อหน่วยงานต้นสังกัด โดยแหล่งทุนจะมอบเงินดังกล่าวในร้อยละ 10-20 ให้แก่หน่วยงาน ซึ่งจะทำให้หน่วยงานต้นสังกัดมีรายได้ เพื่อใช้ในการบริหารงานของหน่วยงานต่อไป เมื่อนักวิจัยได้รับทุนสนับสนุนและได้ดำเนินการวิจัยเสร็จแล้ว ก็ยังสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้ไปขอทุนวิจัยประเภทการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อช่วยเหลือชุมชน ผู้ประกอบการหรือเกษตรกร ให้มีเทคโนโลยี ที่เหมาะสมในการดำเนินงานของตนเองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของงาน และยกระดับความสามารถในการแข่งขันของกลุ่ม สร้างรายได้ที่มากขึ้นและสร้างความเป็นอยู่ที่ดีให้เกิดขึ้นในท้องถิ่น ตรงตามปรัชญาของมหาวิทยาลัยราชภัฏที่มีภารกิจในการพัฒนาท้องถิ่น ผู้วิจัยมีประสบการณ์ในการเขียนโครงการวิจัยในลักษณะดังกล่าวมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 และได้ เข้ารับการอบรม ได้รับคำแนะนำ และเข้าร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในหลายเวที ทำให้ผู้วิจัยได้รับทุนสนับสนุนในงานลักษณะดังกล่าวในปี พ.ศ.2560 - 2565 และในปี 2566 ซึ่งกำลังอยู่ในการพิจารณาสนับสนุนทุนรอบสุดท้าย โดยทั้งหมดของโครงการวิจัยนี้ ผู้วิจัยได้ตกผลึกองค์ความรู้ซึ่งเป็นเทคนิคในการเขียนขอทุนสนับสนุนในลักษณะดังกล่าว นอกจากนั้นยังได้ถูกรับเชิญไปบรรยายในการเขียนโครงการวิจัยในลักษณะนี้หลายมหาวิทยาลัย เช่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม มหาวิยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏสกลนคร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม และมหาวิทยาลัยราชมงคลศรีวิชัย รวม 7 มหาวิทยาลัย

          โครงการนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะนำการจัดการความรู้มาใช้ในการเขียนโครงการวิจัยประเภทนวัตกรรมและการถ่ายทอดเทคโนโลยี ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของการวิจัยที่เป็นความต้องการของประเทศในการพัฒนา  ขีดความสามารถในการแข่งขันทางด้านวัฒนธรรม ซึ่งปัจจุบันมีแหล่งทุนที่ให้การสนับสนุนในการเปิดรับข้อเสนอหลายแหล่ง นอกจากนั้นการทำวิจัยในลักษณะนี้ มักจะให้ค่าตอบแทนนักวิจัยเป็นรายเดือนอีกด้วย บางแหล่งทุนให้เงินค่าตอบแทนนักวิจัยถึง 40,000-50,000 บาทต่อเดือน ทำให้เกิดการแข่งขันกันมากขึ้นในการขอทุนสนับสนุนที่ต้องแข่งขันกันทั้งประเทศรวมกัน ทั้งกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาวิทยาลัยราชมงคล และกลุ่ม ทปอ. เดิม ยิ่งทำให้นักวิจัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏต้องขยับขีดความสามารถในการเขียนโครงการวิจัยทางด้านนวัตกรรมให้มีความโดดเด่นเพื่อให้ได้รับทุนสนับสนุนดังกล่าวจากแหล่งทุน

          รูปแบบการเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอสนับสนุนจากแหล่งทุนในลักษณะโครงการวิจัยด้านนวัตกรรมต้องมีความรู้ ความเข้าใจ ซึ่งเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการเขียนโครงการ นอกจากนั้นผู้วิจัยยังต้องลงพื้นที่เก็บข้อมูลเพื่อให้มี database ที่เพียงพอต่อการเขียนโครงการ นอกจากนั้นยังต้องทำการวิเคราะห์ระดับของ Technology Readiness Level (TRL) เพื่อสร้างความได้เปรียบในการได้รับทุนสนับสนุน

          โดยประโยชน์ของการได้รับทุนสนับสนุนในลักษณะดังกล่าว จะส่งผลดีทั้งต่อนักวิจัย ต่อหน่วยงาน ที่สังกัด และต่อมหาวิทยาลัย โดยในแต่ละส่วนจะได้รับเงินชดเชยหรือเงินสิทธิประโยชน์ต่อหน่วยงานต้นสังกัด  โดยแหล่งทุนจะมอบเงินดังกล่าวในร้อยละ 10-20 ให้แก่หน่วยงาน ซึ่งจะทำให้หน่วยงานต้นสังกัดมีรายได้ เพื่อใช้ในการบริหารงานของหน่วยงานต่อไป

          เมื่อนักวิจัยได้รับทุนสนับสนุนและได้ดำเนินการวิจัยเสร็จแล้ว ก็ยังสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้ไปขอทุนวิจัยประเภทการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อช่วยเหลือชุมชน ผู้ประกอบการหรือเกษตรกร ให้มีเทคโนโลยี ที่เหมาะสมในการดำเนินงานของตนเองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของงาน และยกระดับความสามารถในการแข่งขันของกลุ่ม สร้างรายได้ที่มากขึ้นและสร้างความเป็นอยู่ที่ดีให้เกิดขึ้นในท้องถิ่น ตรงตามปรัชญาของมหาวิทยาลัยราชภัฏที่มีภารกิจในการพัฒนาท้องถิ่น

          ผู้วิจัยมีประสบการณ์ในการเขียนโครงการวิจัยในลักษณะดังกล่าวมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 และได้        เข้ารับการอบรม ได้รับคำแนะนำ และเข้าร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในหลายเวที ทำให้ผู้วิจัยได้รับทุนสนับสนุนในงานลักษณะดังกล่าวในปี พ.ศ.2560 - 2565 และในปี 2566 ซึ่งกำลังอยู่ในการพิจารณาสนับสนุนทุนรอบสุดท้าย โดยทั้งหมดของโครงการวิจัยนี้ ผู้วิจัยได้ตกผลึกองค์ความรู้ซึ่งเป็นเทคนิคในการเขียนขอทุนสนับสนุนในลักษณะดังกล่าว นอกจากนั้นยังได้ถูกรับเชิญไปบรรยายในการเขียนโครงการวิจัยในลักษณะนี้หลายมหาวิทยาลัย เช่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม มหาวิยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ มหาวิทยาลัย  ราชภัฏสกลนคร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม และมหาวิทยาลัยราชมงคลศรีวิชัย รวม 7 มหาวิทยาลัย

          รูปแบบการเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอสนับสนุนจากแหล่งทุนในลักษณะโครงการวิจัยด้านนวัตกรรมต้องมีความรู้ ความเข้าใจ ซึ่งเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการเขียนโครงการ นอกจากนั้นผู้วิจัยยังต้องลงพื้นที่เก็บข้อมูลเพื่อให้มี database ที่เพียงพอต่อการเขียนโครงการ นอกจากนั้นยังต้องทำการวิเคราะห์ระดับของ Technology Readiness Level (TRL) เพื่อสร้างความได้เปรียบในการได้รับทุนสนับสนุน

          โดยประโยชน์ของการได้รับทุนสนับสนุนในลักษณะดังกล่าว จะส่งผลดีทั้งต่อนักวิจัย ต่อหน่วยงาน         ที่สังกัด และต่อมหาวิทยาลัย โดยในแต่ละส่วนจะได้รับเงินชดเชยหรือเงินสิทธิประโยชน์ต่อหน่วยงานต้นสังกัด  โดยแหล่งทุนจะมอบเงินดังกล่าวในร้อยละ 10-20 ให้แก่หน่วยงาน ซึ่งจะทำให้หน่วยงานต้นสังกัดมีรายได้ เพื่อใช้ในการบริหารงานของหน่วยงานต่อไป

          เมื่อนักวิจัยได้รับทุนสนับสนุนและได้ดำเนินการวิจัยเสร็จแล้ว ก็ยังสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้ไปขอทุนวิจัยประเภทการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อช่วยเหลือชุมชน ผู้ประกอบการหรือเกษตรกร ให้มีเทคโนโลยี ที่เหมาะสมในการดำเนินงานของตนเองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของงาน และยกระดับความสามารถในการแข่งขันของกลุ่ม สร้างรายได้ที่มากขึ้นและสร้างความเป็นอยู่ที่ดีให้เกิดขึ้นในท้องถิ่น ตรงตามปรัชญาของมหาวิทยาลัยราชภัฏที่มีภารกิจในการพัฒนาท้องถิ่น

          ผู้วิจัยมีประสบการณ์ในการเขียนโครงการวิจัยในลักษณะดังกล่าวมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 และได้เข้ารับการอบรม ได้รับคำแนะนำ และเข้าร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในหลายเวที ทำให้ผู้วิจัยได้รับทุนสนับสนุนในงานลักษณะดังกล่าวในปี พ.ศ.2560 - 2565 และในปี 2566 ซึ่งกำลังอยู่ในการพิจารณาสนับสนุนทุนรอบสุดท้าย โดยทั้งหมดของโครงการวิจัยนี้ ผู้วิจัยได้ตกผลึกองค์ความรู้ซึ่งเป็นเทคนิคในการเขียนขอทุนสนับสนุนในลักษณะดังกล่าว นอกจากนั้นยังได้ถูกรับเชิญไปบรรยายในการเขียนโครงการวิจัยในลักษณะนี้หลายมหาวิทยาลัย เช่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม มหาวิยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม และมหาวิทยาลัยราชมงคลศรีวิชัย รวม 7 มหาวิทยาลัย